เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธเธตเนˆเธ›เธธเนˆเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธˆเธญเธฃเนŒเนเธ”เธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธญเธตเธขเธดเธ›เธ•เนŒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน€เธงเธตเธขเธ”เธ™เธฒเธก l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธฃเธฑเธชเน€เธ‹เธตเธข l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ เธนเธเธฒเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธžเธกเนˆเธฒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธขเธธเน‚เธฃเธ› l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ•เธธเธฃเธเธต l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน‚เธกเธฃเน‡เธญเธเน‚เธ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ›เธฒเธเธตเธชเธ–เธฒเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธˆเธญเธฃเนŒเน€เธˆเธตเธข l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน€เธ™เธ›เธฒเธฅ
เธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเธŠเน‰เธฒเธ‡เธ™เน‰เธญเธข เน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเธŠเน‰เธฒเธ‡เธ™เน‰เธญเธข เธงเธดเธ˜เธตเธเธฒเธฃเธŠเธณเธฃเธฐเน€เธ‡เธดเธ™ เน‚เธ›เธฃเนเธเธฃเธกเธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ•เนˆเธฒเธ‡เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจ เน‚เธ›เธฃเนเธเธฃเธกเธ—เธฑเธงเธฃเนŒเนƒเธ™เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจ เธŠเน‰เธฒเธ‡เธ™เน‰เธญเธข เธฎเธญเธฅเธดเน€เธ”เธขเนŒ ๏ฟฝิด๏ฟฝ๏ฟฝอช๏ฟฝาง๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝวกับ๏ฟฝ๏ฟฝาง๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝับ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝีซ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาง๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝในป๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ
เน‚เธ›เธฃเนเธเธฃเธกเธ—เธฑเธงเธฃเนŒเนƒเธ™เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจ
เน‚เธ›เธฃเนเธเธฃเธกเธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ•เนˆเธฒเธ‡เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจ
เธเธฃเธธเนŠเธ›เน€เธซเธกเธฒ เธ—เธฑเธจเธ™เธจเธถเธเธฉเธฒ เธ”เธนเธ‡เธฒเธ™
เธšเธฃเธดเธเธฒเธฃเธ”เน‰เธฒเธ™เธงเธตเธ‹เนˆเธฒ
เธงเธดเธ˜เธตเธเธฒเธฃเธŠเธณเธฃเธฐเน€เธ‡เธดเธ™
เน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเน€เธฃเธฒ
เธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเน€เธฃเธฒ
เน€เธ‚เธ•เธฃเธฑเธเธฉเธฒเธžเธฑเธ™เธ˜เธธเนŒเธชเธฑเธ•เธงเนŒเธ›เนˆเธฒ
เน€เธเธฒเธฐเนƒเธ™เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเน„เธ—เธข
เน€เธ—เธจเธเธฒเธฅเนเธฅเธฐเธ‡เธฒเธ™เธ›เธฃเธฐเน€เธžเธ“เธต
เธžเธฃเธฐเธ˜เธฒเธ•เธธเธ›เธฃเธฐเธˆเธณเธ›เธตเน€เธเธดเธ”
เนเธœเธ™เธ—เธตเนˆเธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเน„เธ—เธข
เธญเธธเธ—เธขเธฒเธ™เนเธซเนˆเธ‡เธŠเธฒเธ•เธด
เธญเธธเธ—เธขเธฒเธ™เธ›เธฃเธฐเธงเธฑเธ•เธดเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
เธงเธ™เธญเธธเธ—เธขเธฒเธ™
Unseen in Thailand
เน€เธ—เธตเนˆเธขเธงเธ—เธฑเนˆเธงเน„เธ—เธข 77 เธˆเธฑเธ‡เธซเธงเธฑเธ”
เธเธฒเธฃเธ‚เธญเธกเธตเธซเธ™เธฑเธ‡เธชเธทเธญเน€เธ”เธดเธ™เธ—เธฒเธ‡
เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเธ—เธตเนˆเน„เธกเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธ‚เธญเธงเธตเธ‹เนˆเธฒ
เธเธฑเธกเธžเธนเธŠเธฒ เธฅเธฒเธง เน€เธงเธตเธขเธ”เธ™เธฒเธก เธžเธกเนˆเธฒ
เธกเธฒเน€เธฅเน€เธ‹เธตเธข เธญเธดเธ™เน‚เธ”เธ™เธตเน€เธ‹เธตเธข เธชเธดเธ‡เธ„เน‚เธ›เธฃเนŒ
เธˆเธตเธ™ เน€เธเธฒเธซเธฅเธต เธเธตเนˆเธ›เธธเนˆเธ™ เน„เธ•เน‰เธซเธงเธฑเธ™
เธ•เธธเธฃเธเธต เธญเธดเธ™เน€เธ”เธตเธข เน€เธ™เธ›เธฒเธฅ เธ เธนเธเธฒเธ™

เกาะสุรินทร์

    กาะสุรินทร์ู ตั้งชื่อตามพระยาสุรินทราชา ผู้ค้นพบเกาะแห่งนี้เป็นเกาะที่สวยงามมากเกาะหนึ่งของท้องทะเลอันดามัน และยังมีชุมชนชาวมอแกน ชาวเลเผ่าสิงห์ ที่อาศัยอยู่ที่นี่เป็นกลุ่มสุดท้าย เป็นหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในทะเลอันดามัน และอยู่ติดชายแดนประเทศพม่า ห่างจากชายฝั่งทะเลบริเวณท่าเรือคุระบุรี ประมาณ 60 กิโลเมตร ประกอบ ด้วยเกาะ 5 เกาะ คือ เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ เกาะรี(เกาะสต๊อร์ค) เกาะไข่(เกาะตอรินลา) และเกาะ กลาง(เกาะปาจุมบา) หมู่เกาะ สุรินทร์เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่โดดเด่นในเรื่องของความสวยงามใต้ทะเล ไม่่ว่าจะเป็น็ปะการังนานาชนิด ทั้งปะการังผักกาก ปะการังโต๊ะ ปะการังสมอง ปะการังนิ้วมือ ปะการังเขากวาง ปะการังอ่อน ดอกไม้ทะเล และ กัลปังหา ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีปลาทะเลที่สวยงามมากมาย เช่น ปลานกแก้ว ปลานกขุนทอง ปลาสินสมุทรปลา ผีเสื้อ เทวรูป ปลาสิงโต เป็นต้น ปละยังพบสัตว์น้ำทะเลที่หายาก เช่น เต่าทะเล ฉลาวาฬ ปลากระเบนราหู กุ้งมังกร นอกจากนี้ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ยังมีทรัพยากรป่าไม้ที่อุดมสมูรณ์อย่างมาก โดยมากประกอบด้วย ป่าใหญ่ 3 ประเภท คือ ป่าดงดิบที่ขึ้นอยู่ทั่วเขา ป่าประเภทนี้จะมีไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มากมาย ไม่ว่าจะเป็น ตะเคียนทอง ยางมะพลับ ประเภทที่ 2 คือ ป่าชายหาด ประกอบด้วย โพกริ่ง กระทิง ตีนเป็ดทะเล สนทะเล จิกเล ปอทะเล โกงกางหูช้าง คันทรง ขาเปี๋ย สำมะงา รักทะเล ปรงทะเล ลำเจียก หญ้าไหวทามเป็นต้น ประเภทที่ 3 คือ ป่าชายเลน ประกอบด้วย โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก โกงกางหัวสุม ตะบูน ลำแพนหิน ตีนเป็ดทะเล และพืชอิงอาศัยพวกกระแตไต่ไม้และกล้วยไม้บางชนิด

เกาะสุรินทร์
เกาะสุรินทร์

    เกาะสุรินทร์เหนือ เป็นเกาะที่ใหญที่สุดในบรรดาหมู่เกาะทั้ง 5 เกาะ และเป็นจุดศูนย์กลางการท่องเที่ยวหมู่เกาะสุรินทร์ด้วย เพราะ นอกจากจะเป็นที่ตั้งของที่ทำการหน่วยพิทักษ์อุทยาน ฯ ยังมีศุนย์บริการนัดท่องเที่ยว บ้านพักลานกางเต้นท์ ห้องน้ำ ร้านอาหาร และจุดจอดเรือหางยาวที่คอยให้บริการพานักท่องเที่ยวไปดำน้ำชมปะการังรอบเกาะอีกด้วย นอกจากนี้บนเกาะยังมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายอยู่รอบๆไม่ว่าจะเป็นชายหาดและอ่าวต่ิางๆ ที่สามารถเดินเที่ยว เล่นน้ำและเส้นทางศึกษาธรรมชาติ มีอ่าวไม้งามสำหรับผู้ที่รักต้นไม้ ป่าเขา มีชายหาดที่มีทรายละเอียดสีขาว และ จากศูนย์บริการนักท่องเที่ยวสามารถเดินไปอ่าวช่องขาด เพื่อเล่นน้ำ อาบแดด หรือชมวิวทิวทันศ์ก็ได้ และ หาก นักท่องเที่ยวต้องการไปดำน้ำยังอ่าวต่างๆ ก็มีเรือหางยาวของอุทยานคอยริการรอบเกาะ จุดท่องเที่ยวที่น่าสนใจ รอบเกาะได้แก่

อ่าวช่องขาด เป็นเหมือนประตูที่คอยต้อนรับนักท่องเที่ยวเมื่อมาถึงหมู่เกาะสุรินทร์ โดยเป็นที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์ อุทยาน โดยจะ มีสะพานไม้ทอดยาวลงไปยังชาดหาดด้าหน้าเพื่อให้เรือทัวร์ทุกลำมาเทียบท่าส่งนักท่องเที่ยวขึ้นเกาะ และชำระค่าธรรมเนียมเข้าอุทยาน ฯ และเรือหางยาวพาเที่ยวของบริษัททัวร์ต่างๆ ที่มารอนักท่องเที่ยวไป ดำน้ำ รอบๆ เกาะสุรินทร์ด้วย อ่าวช่องขาดมีลักษณะเป็นร่องน้ำที่คั้นระหว่างหมู่เกาะสุรินทร์เหนือและใต้ มีความกว้าง ประมาณ 200เมตร ชายหาดด้านหน้าอุทยานฯมีลักษณะเป็นหาดทรายสีขาวเม็ดละเอียด น้ำทะเลใส ในช่วงที่ น้ำทะเลลดหาดจะกว้างมาก ชายหาดยังเป็นที่ซ้อมฝึกดำน้ำตื้นก่อนลงทะเลจริง ส่วนชายหาดด้านหลังอุทยานเป็น ชายหาดที่ยาว ต่อเนื่องมาจากช่องขาดซึ่งเป็นร่องน้ำระหว่างเกาะสุรินทร์เหนือและเกาะสุรินทร์ใต้ ชยหาดด้านนี้ ยาว ต่อเนื่องไปจนถึงอ่าวกระทิง ชายหาดด้านนี้เป็นชายหาดที่โค้งสวยงสม น้ำทะเลใส ทรายเม็ดเล็กเหมาแก่การ เล่นน้ำ แต่นักท่องเที่ยวควรระมััดระวังไม่เข้าไปใกล้ร่องน้ำช่องขาดเพราะกระแสน้ำไหลแรงในเวลาช่วงน้ำขึ้นน้ำลง อาจเกิดอันตรายได้ ช่วงยามเย็นเวลาน้ำลดสามารถเดินไปอ่าวกระทิงเพื่อชมพระอาทิตย์ตกได้ด้วย นับเป็นจุดที่ สามารถ ชมพระอาิตย์ตกได้สวยงามที่สุดของ หมู่เกาะสุรินทร์

อ่าวไม้งาม เป็นอ่าวขนาดใหญ่ โค้งอ่าวเว้าลึกเป็นรูุปตัว U ขนาบด้วยแหลมหินทั้งสองด้าน ด้านในสุดของอ่าวเป็น แนวหาด ทรายขาวสะอาดสะดุดตา ถัดจากหาดทรายไปเป็นที่ราบร่มรื่นด้วยป่าชายหาด และยังเป็นที่พักจุดที่สองของ เกาัะสุรินทร์เหนือ โดยมีห้องน้ำ ห้องสุขา ลานกางเต้นท์ ร้านอาหาร ไว้คอยบริการนักท่องเที่ยว เหมาะสำหรับผู้ที่ ต้องการความสลวเป็นส่วนตัว และหากว่ายน้ำออจากฝั่งไปไม่ไกล ยังมีโลกใต้ืทะเลที่อุดม ด้วยปะการังให้ชมอีก ด้วย เช่นปะการังโต๊ะ ปะการังโขด ปะการังเคลือบ และปะการังผักกาด รวมถึงฝูงปลาทะเล เช่น ปลากระเบนจุดฟ้า และฝูงปลากระบอก โดยนักท่องเที่ยวสามารถดำน้ำตื้นเรียแนวหินไปจนจรดปลายแหลมทั้งสองได้ ระหว่าง เส้นทางเดิน ศึกษาธรรมชาติระหว่างอ่าวช่องขาดและอ่าวไม้งาม ยังเห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของป่าดงดิบ ป่าชายเลน และป่าชายหาด มีพรรณไม้มากมายให้ศึกษาและนกป่าให้ชมอีกด้วย ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง
การเิดินทาง เดินตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติอ่าวไม้งามจากที่ทำการอุทยานฯ อ่าวช่องขาด ระยะทาง 2 กิโลเมตร หรือให้เรือหางยาวมาส่งที่หน้าหาดๆ ด้านข้าง ก่อนจะเดินทางไปยังอ่าวไม้งามอีก 200 เมตร

อ่าวกระทิง มีลักษณะเป็นอ่าวโค้งยาวที่ต่อเนื่องมาจากลานกางเต้นท์ริมอ่าวช่องขาด อ่าวนี้มีระดับน้ำที่ไม่ลึกมากนัก จึงเหมาะ แก่การลงเล่นน้ำเป็นอย่างมาก น้ำทะเลใสจนเห็นพื้นทราย ใช้เป็นจุดซ้อมดำน้ำตื้นก่อนไปดูปะการังจริงที่เกาะอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี สำหรับใครที่ชื่นชอบการอาบแดด ริมอ่าวกระทิงยังมีแนวหาดทรายที่ร่มรื่นด้วยป่าชายหาด ให้เลือก พักผ่อนด้วย บรรยากาศริมหาดนี้ค่อนข้างเงียบสงบ เพราะนักท่องเที่ยวส่วนใหญาจะนิยมไปดำน้ำตาม หาดต่างๆ จนมีนักท่องเที่ยวน้อยคนที่จะมาพักผ่อนที่หาดนี้ นอกจากนอ่าวกระทิงยังเป็นจุดชม พระอาทิตย์ตกที่ สวยงามอีกด้วย

อ่าวแม่ยาย เป็นอ่าวที่มีขนาดใหญ่ทีสุดในบรรดาอ่าวทั้งหมดของเกาะสุรินทร์เหนือ อ่าวแม่ยายมีชายหาดเล็กๆ แต่ไม่ค่อยเป็น ที่นิยมในการเล่นน้ำมากนัก ริมอ่าวยังร่มรื่นด้วยป่าดิบเขาที่ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น เนื่องจากกระแสน้ำได้พัดพาเอา ตะกอนความสมบูรณ์ไปมาตลอดจากอ่าวช่องขาด ทำให้อ่าวแม่ยายมีความอุดมสมบูรณ์ของท้อง ทะเลที่ หลาก หลายโดยเฉพาะปะการังหลากชนิดที่กินพื้นที่บริเวณกว้างมาก ทางอุทยานฯได้กันพื้นที่บางส่วนไว้เพื่อการอนุรักษ์ โดยนักท่องเที่ยวสามารถดำน้ำได้ที่ปลายอ่าวใกล้ๆ กับแหลมแม่ยาย ปะการังที่พบบริเวณนี้ได้แก่ ปะการัง ผักกาด ปะการังจาน ปะการังโต๊ะ ปะการังกิ่ง ปะการังดำและปะการังอ่อน อ่าวแม่ยายเป็นอ่าวที่ที่มีระดับน้ำลึกไล่เลี่ยกัน จึงเป็นจุดที่สามารถดำน้ำได้ืั้ทั้งแบบผิวดำน้ำและดำน้ำลึก โดยมีความหลากหลายของปะการังให้ชมอย่างจุใจ นอกจากนี้ยัง มีฝูงปลาทะเลที่สามารถพบได้ง่าน คือ ฝูงปลานกแก้วชนิดต่างๆ อ่าวแม่ยายนับเป็นอ่าวแรก ที่บริษัท ทัวร์นิยมพานักท่องเที่ยวมาดำน้พ เนื่องจากเป็นอ่าวที่อยู่ไม่ไกลจากอ่าวช่องขาด

อ่าวไทรเอน ชื่อของอ่าวไทรเอน เรียกตามลักษณะของอ่าวที่มีต้นไทรขึ้น เป็นอ่าวที่ไม่ลึกมาก แต่มีชายหาดทอดยาว มีทราย สีขาวสะอาดนุ่มเท้าเหมาะแก่การเดินเที่ยวเล่น ในอดีตอ่าวไทรเอนเป็นที่อยู่อาศัยของชาวมอแกน และเป็นที่ตั้ง ของสถานีพัฒนาประมง จึงและหน่วยพิทักษ์อุทยานแต่หลังจากเกิดเหตุการณ์สึนามิจึงได้ย้ายชาวมอแกน ทั้งหมด ไปยังอ่าวบอน บรรยกาศของอ่าไทรเอนนอกจากจะมีชายหาดขาว กว้างเหมาะแก่การเล่นน้ำแล้ว ยังร่มรื่นไป ด้วย ป่าชายหาดที่อุดสมบูรณ์ ใต้ผืนน้ำัยังพอมีปะการังให้สามารถเล่นน้ำได้ แต่อ่าวนี้ยังไม่เป็นที่นิยมของ นักท่องเที่ยว บริษัททัวร์ส่วนใหญ ่จะล่องผ่านให้ได้ชมทิวทัศน์เท่านั้นและมุ่งหน้าไปอ่าวจากมากกว่า

อ่าวจาก เป็นอ่าวที่อยู่เหนือสุดในบรรดาอ่าวทางด้านทิศตะวันออกของเกาะสุรินทร์เหนือ มีลักษณะเป็นอ่าวเปิดขนาด กว้าง โค้งหาดเว้าเป็นรูปตัว C มีหาดทรายสีขาวเด่นขนาดไปกับป่าชายหาดที่เขียวขจี เป็นอ่าวที่มีธรรมชาติที่ ค่อนข้าง สมบูรณ์ หายทรายขาวของอ่าวจากมีความสวยงามไม่แพ้หาดใดๆ อ่าวจากเป็นอีกอ่าวหนึ่งที่ได้รับการยกย่องว่ามี แนวปะการังที่สมบูรณ์ไม่แพ้อ่าวแม่ยายและอ่าวเต้าเลย เนื่องจากอ่าวนี้มีปะการังให้ชมเกือบทุกชนิด เช่น ปะการังเขากวาง ปะการังโขด ปะการังจาน ปะการังโตะ๊ และกัลปังหา และยังมีสัตว์น้ำที่น่าสนใจ เช่น หอยมือ เสือตัวใหญ่ ดาวขนนก หนอนพู่ฉัตร และปลาสวยงามอีกมากมาย ปัจจุบันไม่อนุญาติให้เรือหางยาวเข้าไปในอ่าว เนื่องจากมีแนวปะการังที่สมบูรณ์อยู่มาก

อ่าวทรายแดง เป็นอ่าวที่ไม่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวมากนักเนื่องจากอยู่ไกลจากอ่าวช่องขาดและมีแนวปะการัง ที่ไม่โดดเด่น เท่ากับอ่าวอื่นๆ ที่หาดนี่มีหาดทรายที่โดดเด่นไม่เหมืออ่าวอื่นนั่นคือ ทรายสีแดงที่มีเพียงหาดเดียว เท่านั้นใน อ่าวเดียวกันนี้ยังมีหาดสั้นๆอีก 1 หาดที่มีหาดทรายสีขาว เป็นคงามแตกต่างที่สามารถเที่ยวได้ 2 หาด ในอ่าวเดียว ปัจจุบันอ่าวทรายแดงอยู่ในระหว่างการฟื้นฟูแนวปะการังจึงไม่อนุญาติให้นักท่องเที่ยวเข้าชม

เกาะสุรินทร์
เกาะสุรินทร์

     เกาะสุรินทรใต้ เกาะสุรินทรใต้มีความงดงามไม่แพ้เกาะสุรินทร์เหนือเลยแม้แต่น้อย โดยเฉพาะแนวปะการังน้ำตื้น และปะการัง น้ำลึก ที่มีให้ชมอยู่รอบเกาะ และสัตว์น้ำหายากอีกหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นเต่าทะเล ปลากระโทงร่ม ฉลามก กุ้งมังกรนอกจากนี้ยังได้ชมวิถีชีวิตของชาวมอแกน ยิปซีที่อาศัยอยู่ในเกาะกลางทะเลมานาน เกาะสุรินทร์ ใต้มี จุดท่องเที่ยวที่น่าสนใจต่างๆ ดังนี้

อ่าวบอน เป็นอ่าวที่อยู่ไม่ไกลจากอ่าวช่องขาดมากนัก อ่าวนี้เป็นที่ตั้งของชุมชนชาวมอแกน ยิปซีทะเลที่ใช้ชีวิตร่อนเร่ อยู่ กลางทะเลอันดามันมาหลายชั่วอายุคน ในอดีจ หมู่เกาะสุรินทร์มีชุมชนชาวมอแกนตั้งอยู่ 2 แห่ง คืออ่าวไทรเอน เกาะสุรินทร์เหนือ และอ่าวบอน เกาะสุรินทร์ใต้ หลังจากเกิดคลื่นยักษ์สึนามิบ้านเรือนชาวมอแกน เกิดความ เสียหาย ทางอุทยานฯจึงได้จัดสรรพื้นที่บริเวณอ่าวบอนให้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวบมอแกน และได้อพยพ ชาวมอแกนที่อยู่อาศัยบริเวณอาวไทนเอนมารวมกันที่นี่เพียงแห่งเดียว ในอดีตบ้านเรือนชาวมอแกน จะปลูกติด กับชายหาด เป็นบ้านหลังเล็กๆ บนเสาไม้สูงๆมองให้ได้แต่ไกล ปัจจุบันหลังจากที่สึนามิทำลายเสียหาย บ้านเรือน ของชาว มอแกนได้ถูกปลูกสร้างขึ้นใหม่ รวมถึงโรงเรียน บ้านเรือนอาจดูแปลกจากแต่ก่อนแต่ยัง คงเสน่ห์บ้าน ไม้ไว้อย่างกลมกลืน รวมถึงวิถีชีวิตที่ยังคงผูกพันอยู่กับท้องทะเลเช่นเดิม นอกจากจะได้เยี่ยมชมดูวิถีชิวิตชาว มอแกน แล้วอ่าวบอนยังมีแนวชายหาดที่ทอดยาวประมาณ 400 เมตร หาดทรายสีขาวลาดเอียงทีละน้อย แม้ว่า น้ำทะเลที่อ่าวนี้จะใส แต่ไม่เป็นที่นิยมเล่นน้ำ เพราะเป็นที่ตั้งชุมชน ทิศตะวันออกเป็นโขดหิน มีทิวทัศน์สวยงาม จึงเหมาะเดินชมวิวมากกว่าหลังจากเดินเที่ยวชมวิวแล้ว ก็สามารถซื้อของที่ระลึกจากชาวมอแกนได้ ส่วนใหญ่ จะเป็นเสื่อห่อพื้นบ้าน กำไลสาน กระติ๊บใส่ของ สินค้าส่วนใหญ่เป็นงานฝีมือที่ทำขึ้นโดยชาวมอแกนโดยแท้

อ่าวเต่า เป็นอ่าวที่มีชื่อเสียงในเรื่องของปะการังน้ำตื้นที่สวยงามไม่แพ้อ่าวแม่ยาย โดยแนวปะการังของอ่าวเต่านี้ แบ่งตาม ระดับความลึกของทะเล ชื่อเสียงของอ่าวเต้าเป็นที่รู้จักในกลุ่มนักดำน้ำว่า อ่าวนี้สามารถพบเห็นเต่าทะเล ได้้มาก ที่สุด โดยเฉพาะเต่ากระที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้แนวปะการังของอ่าวนี้ยาวกว่า 200-300 เมตร เป็นแนวปะการัง ที่ได้ รับการยกย่องว่าสวยงามมากที่สุดอีกแห่งหนึ่งของหมู่เกาะสุรินทร์ อ่่าวเต่าเหมาะทั้งดำผิวน้ำลึกและตื้น ปะการัง ที่พบ ในบริเวณนี้คือ ปะการังกิ่ง ปะการังเขากวาง ปะการังเขากวางพุ่ม ปะการังสมอง หากลึกลงไปอีก จะพบกับ ปะการังอ่อนกัลปังหา และแนวดอกไม้ทะเลเป็นกลุ่มใหญ่และปลาการ์ตุณสีส้ม ส่วนปลาทะเลที่พบ คือ ปลานก แก้วหัวมน นอกจากนี้ยังมีโอกาสได้พบกับ เต่าทะเล ปลากระเบนราหู และฉลาวาฬ อีกด้วย จุดดำน้ำที่ อ่าวเต่า นั้นเดินทางง่าย มีปะการังให้ ชมคุ้มค่ากับการดำน้ำ และมีความปลอดภัยสูง แต่ควรหลีกเลี่ยงในยาม ที่มี กระแส น้ำแรง เช่น ช่วงที่มีน้ำขึ้น น้ำลงในช่วงใกล้ข้างขึ้น 15 ค่ำ และไม่ควรเข้าไปใกล้ชายฝั่งมาก เพราะอาจถูกเพียง ทะเลตามโขดหินบาดได้

อ่าวผักกาด อ่าวผักกาดเป็นอ่าวเล็กๆของเกาะสุรินทร์ใต้ อยู่เลยอ่าวเต่าไป ป็นอ่าวหินจะปรากฎหาดทรายให้เห็น เล็กๆด้านใน แต่ทรายหยาบ แนวปะการังหักชันตรงขอบลงสู่ความลึก 15-20 เมตร ด้านล่างเป็นพื้นทราย เฉพาะ ตอนที่น้ำลง เต็มที่เท่านั้น นั่งเรือประมาณ 20-25 นาที แนวปะการังริมฝั่งกว้างประมาณ 50-150 เมตร มีหาดมี ปะการัง อ่อน และกัลปังหาน้อย อ่าวผักกาดเป็นจุดที่มีปะการังหลากหลายสูงในพื้นที่แคบๆ พบทั้งปะการังก้อน แผ่นตั้ง แผ่นนอน เขากวาง ฯลฯ เรียกว่าใครชอบดูปะการัง คงไม่ผิดหวังกับที่นี่ นอกจากปะการังแล้ว อ่าวผักกาด ยังมี สัตว์เกาะติดหลากหลาย เช่น ดอกไม้ทะเล หอยมือเสือ ฯลฯ แต่ส่วนใหญ่อยู่ในน้ำลึก ที่นี่มีปลาเกือบทุกชนิด ที่พบในเกาะสุรินทร์ โดยเฉพาะปลาผีเสื้อและปลาสินสมุทร แนวปะการังอ่าวผักกาด เหมาะสำหรับผู้ที่มี ความ ชำนาญในการดำน้ำ เพราะแถวนี้ปะการังหลากหลาย มีชนิดที่แตกหักง่ายเยอะ อาจลองดำน้ำที่อ่าวช่องขาด และ อ่าวเต่าก่อน ถึงจะมาที่นี่ แม้ว่าจะชำนาญแล้ว ก็ไม่ควรเข้าไปในที่ตื้น อาจชนปะการังได้ง่าย สัตว์อันตราย บางครั้ง แถวนี้มีกระแสน้ำ พัดแมงกะพรุนหรือแพลงก์ตอนตัวเล็กๆที่โดนแล้วคันยิบๆ อ่าวผักกาดเป็น จุดดำน้ำที่ คุ้มค่า เพราะมีความอุดมสมบูรณ์ ของปะการังและเป็นแหล่งรวมสายพันธุ์ปลาต่างๆ

อ่าวสุเทพ
อ่าวสุเทพเป็นอ่าวใหญ่ที่สุดของเกาะสุรินทร์ใต้ อ่าวสุเทพอยู่ไม่ไกลจากอุทยานฯ แต่มีคนน้อย เพราะเรือ วิ่งข้าม ช่องขาดมาได้เฉพาะช่วงน้ำขึ้น เลยไม่ค่อยมีคนมาเที่ยว บนชายฝั่งยังมีหาดยาวเหยียดพร้อมนกหลายชนิด มีเส้น ทางศึกษาธรรมชาติใต้น้ำแห่งแรกของเมืองไทย อ่าวสุเทพเป็นอ่าวที่นักดำน้ำไม่ควรพลาด เพราะนอกจากจะ อยู่ไม่ไกลจากอ่าวช่องขาดแล้ว ยังมีแนวปะการังที่สมบูรณ์กว่า 1,200 เมตร เป็นจุดที่พบสัตว์น้ำที่หลากหลาย โดยเฉพาะกุ้งมังกรตัวใหญ่ที่ชอบว่ายน้ำหากินในกอปะการัง ทั้งนี้เพราะตั้งอยู่ใกล้กับ เกาะปาจุมบาซึ่งเป็น แหล่งอาศัยของกุ้งมังกร

การเดินทาง

โดยรถยนต์

ขับรถไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) จากกรุงเทพฯ มุ่งหน้าสู่ อำเภอคุระบุรี ระยะทาง ประมาณ 720 กิโลเมตร ก่อนถึงอำเภอคุระบุรีประมาณ 6 กิโลเมตร บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 721 มีทางแยกเลี้ยว เข้าท่าเรือคุระบุรี ประมาณ 2 กิโลเมตร จะมองเห็นป้ายอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์อยู่ทางขวามือจากนั้น ให้เลี้ยวเข้าไป จอดรถบริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยวซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณที่ทำการอุทยานแห่งชาติ (บนฝั่ง)

โดยรถโดยสารประจำทาง
เริ่มต้นจากสถานีขนส่งสายใต้ เวลาออกเดินทางจากกรุงเทพฯประมาณ 19.00 น. ถึงคุระบุรี เวลา 05.00 น. อัตราค่าโดยสารคนละ 480 บาท จากบริเวณสถานีขนส่งคุระบุรี ในอำเภอคุระบุรี บริการรถมอเตอร์ไซด์และ รถยนต์เช่า เหมาคันเดินทางไปส่งยังบริเวณท่าเรือคุระบุรี อันเป็นที่ตั้งของที่ทำการอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร สำหรับอัตราค่าโดยสารมีดังต่อไปนี้ คือ รถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง 50 บาท/คน รถยนต์เช่าเหมา 200บาท/คัน หากซื้อบริการเรือรับส่งของบริษัททัวร์ต่างๆ จะมีรถมารับถึงบ.ข.ส. คุระบุรี
รถโดยสารที่ให้บริการ

- บขส. 02-4224443 - 44
- บ.ลิกไนท์ทัวร์ 02-8946151 - 6152 - 6153 ค่ารถทัวร์ ประมาณ 550-650
ถ้าโทรไปที่เบอร์ของบริษัทลิกไนท์ แต่รถเต็ม ลองเข้าไปเช็คดูใน thairoute.com เค้ากันไว้ 4 ที่นั่ง สำหรับ
จองผ่านเว็บ ขากลับจองได้ที่ จุดจอดรถคุระบุรี โทร 076-491218 ขากลับจาก คุระบุรี จะมีโควต้าของ บ. ลิกไนต์
แค่ 4 ที่นั่ง ถ้าอยากนั่งลิกไนต์ ต้องโทรไปจองก่อน ที่เหลือจะเป็นของ ภูเก็ต
- บ.ภูเก็ตท่องเที่ยว 02-8946144 - 45
- บ.ภูเก็ตเซ็นทรัล 02-8946171 - 2

เครื่องบิน
- สนามบินจ.ภูเก็ต เป็นสนามบินนานาชาติ มีหลายห่างจากคุระบุรีประมาณ 200กม.ต้องต่อรถรับจ้าง ออกจาก สนามบินมาที่ถนนใหญ่ แล้วนั่งรถประจำทางไปลงคุระบุรีหรือใช้บริการรถเช่าราคาประมาณ 1,800 บาท/รถตู้ หรือประมาณ1,500 บาท/รถเก๋ง
- สนามบินจ.ระนอง ห่างจากคุระบุรีประมาณ 100 กม.สายการบินแอร์เอเซีย มีบิน อังคาร ศุกร์ อาทิตย์ มีรถประจำทางผ่านหรือ ใช้บริการรถรับ-ส่ง ประมาณ1000-1,500 บาท/เที่ยว

ภาคเหนือ : เชียงราย : เชียงใหม่ : น่าน : พะเยา : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : อุตรดิตถ์
ภาคกลาง : กรุงเทพฯ : กำแพงเพชร : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นครสวรรค์ : นนทบุรี : ปทุมธานี : พระนครศรีอยุธยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสงคราม : สมุทรสาคร : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : สุโขทัย : อ่างทอง : อุทัยธาน
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
: กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา : บุรีรัมย์ : บึงกาฬ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : สกลนคร : สุรินทร์ : ศรีสะเกษ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อุดรธานี : อุบลราชธานี : อำนาจเจริญ
ภาคตะวันออก : จันทบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชลบุรี : ตราด : ปราจีนบุรี : ระยอง : สระแก้ว
ภาคตะวันตก : กาญจนบุรี : ตาก : ประจวบคีรีขันธ์ : เพชรบุรี : ราชบุรี
ภาคใต้ : กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พังงา : พัทลุง : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธาน

พังงา

ข้อมูลท่องเที่ยวพังงา

จังหวัดพังงา
อำเภอเมือง
    
อำเภอเกาะยาว
    
อำเภอกะปง
    
อำเภอตะกั่วทุ่ง
     เกาะตะปู
อำเภอตะกั่วป่า
    
อำเภอคุระบุรี
     เกาะสิมิลัน
     เกาะสุรินทร์
อำเภอทับปุด
    
อำเภอท้ายเหมือง
    

ที่พักพังงา


เธšเธฃเธดเธฉเธฑเธ— เธŠเน‰เธฒเธ‡เธ™เน‰เธญเธข เธฎเธญเธฅเธดเน€เธ”เธขเนŒ เธˆเธณเธเธฑเธ”

100/19 เธซเธกเธนเนˆเธšเน‰เธฒเธ™เธชเธดเธฃเธ˜เธฒเธ™เธต เธกเธซเธฒเธชเธงเธฑเธชเธ”เธดเนŒ เธšเธฒเธ‡เธเธฃเธงเธข เธ™เธ™เธ—เธšเธธเธฃเธต 11130
โทรศัพเธ—เนŒ 090 909 9499 Line : @ChangnoiHoliday Facebook : @ChangnoiHoliday
Copyright © 2552 Changnoi Holiday Co., Ltd. All rights reserved. Powered by Lakkai Cyber

เธš
เธฃเธดเธเธฒเธฃเธˆเธฑเธ”เธ™เธณเน€เธ—เธตเนˆเธขเธง เธ—เธฑเน‰เธ‡เนƒเธ™เนเธฅเธฐเธ•เนˆเธฒเธ‡เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจ เธ—เธธเธเธ—เธตเนˆ เธ—เธตเนˆเธ„เธธเธ“เธญเธขเธฒเธเน„เธ› เนƒเธ™เธฃเธฒเธ„เธฒเธ—เธตเนˆเธ„เธธเธ“เธเธณเธซเธ™เธ”เน„เธ”เน‰
เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธญเธดเธ™เน€เธ”เธตเธข l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธชเธงเธดเธช l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน‚เธ„เธฃเน€เธญเน€เธŠเธตเธข l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธฎเนˆเธญเธ‡เธเธ‡ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน„เธ•เน‰เธซเธงเธฑเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธญเธฑเธ‡เธเธคเธฉ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธˆเธญเธฃเนŒเน€เธˆเธตเธข l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธˆเธตเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธเธฑเธกเธžเธนเธŠเธฒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน€เธเธฒเธซเธฅเธต l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธšเธฃเธนเน„เธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ”เธนเน„เธš l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธกเธฑเธฅเธ”เธตเธŸเธชเนŒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธขเธนเน€เธ„เธฃเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธญเธดเธ•เธฒเธฅเธต l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธŸเธดเธฅเธดเธ›เธ›เธดเธ™เธชเนŒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธกเธฒเน€เธเนŠเธฒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธจเธฃเธตเธฅเธฑเธ‡เธเธฒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเนเธ„เธ™เธฒเธ”เธฒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ™เธดเธงเธ‹เธตเนเธฅเธ™เธ”เนŒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธญเธญเธชเน€เธ•เธฃเน€เธฅเธตเธข l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ”เธนเธšเธญเธฅ l เธฃเธฑเธšเธ—เธณเธงเธตเธ‹เนˆเธฒ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน€เธ‚เธฒเธชเธ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธซเธฅเธตเน€เธ›เนŠเธฐ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ™เนˆเธฒเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธชเธดเธกเธดเธฅเธฑเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธžเธตเธžเธต l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ เธนเธเธฃเธฐเธ”เธถเธ‡ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ เธนเธชเธญเธขเธ”เธฒเธง l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเน€เธŠเธตเธขเธ‡เธ„เธฒเธ™ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธชเธฒเธกเธžเธฑเธ™เน‚เธšเธ l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ—เธตเธฅเธญเธ‹เธน l เธ—เธฑเธงเธฃเนŒเธ›เธฒเธข